พญาเพชรภัทรนาคราช หรือ พญาเกล็ดแก้วคือ สาลีวาหารนาคาธิบดีในตำนานนาคาปุราณะเก่าแก่5000 ไม่เคยมีพระชายาชื่อ อัญรินทร์ ธสินี ท่านมี ชายาชื่อกัลยาวตี เมยาวตี มาลิณี ชายะ วิชายะ และนางสนมหลายคน #นางนาคกัญญาณี #พญาตักษะ #พญานาคทักชะกะ #ปู่เกล็ดแก้วเทวะ #ชัยยะนาคา #พญาเกล็ดแก้ว #พญาเพชรภัทรนาคราช #พญาอนันตนาคราช #นาคิณี #พญานาค4ตระกูล #พญานาคราช #นาคราช #ปู่ศรีสุทโธนาคราช #ตำนานนาคราช รับทำนายดวง สนใจติดต่อไลน์ : panya599 ช่องยูทูป อรมณีจันทร์ YouTube.com/ohwow2244
วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2566
การบังคับใจคนอื่นมันไม่ดีหรอก
เรื่องลิขสิทธ์ ตำนานรักอัญรินทร์
พระนางกัทรุเคยมาเข้าฝันเราครั้งเดียวและไม่เชื่อคนแอบอ้างหลายคน
วงศาคณานาค มีชื่อพระนาม พี่น้องของ พญาอนันตนาคราช จำนวนมากมายจาก คัมภีร์มหาภารตะ
ข้อมูลนี้ copyมานะ ไม่ได้เขียนเอง
จากเพจFacebook ชื่อ "ครุฑเฒ่าเล่ามหาภารตะ&รามายณะ"
https://www.facebook.com/profile.php?id=100047006750173
รายชื่อนาคราช ใน มหาภารตะ
วงศาคณานาค
เมื่อเล่ามาถึงตอนนี้ ท่านฤษีเศานกะก็ได้เอ่ยถามเสาติว่า
“โอ้...สูตนันทนะ ท่านนั้นได้เล่าถึงเหตุที่เหล่าภุชงค์นั้นถูกมารดาของพวกเขาสาป ท่านได้เล่าถึงเหตุที่นางวินตาถูกบุตร (พระอรุณ) ของนางสาป ท่านได้เล่าเรื่องของนางกัทรูกับนางวินตาที่ได้รับการประทานพรจากสามีของพวกนาง และท่านนั้นยังก็ได้เอ่ยถึงนามของนกผู้เป็นบุตรของนางวินตาทั้งสองให้ข้าพเจ้าฟังไปแล้ว”
“สูตชะ...เอ๋ย ท่านนั้นยังมิได้กล่าวถึงนามของเหล่าปันนคะให้พวกเราฟังเลย เวลานี้พวกเรานั้นปรารถนาที่จะได้รับรู้ซึ่งนามของเหล่านาคผู้ทรงอำนาจหรือที่มีชื่อเสียงโด่งดังเหล่านั้น โปรดบรรยายถึงนามแห่งนาคทั้งหลายนี้ให้พวกเราฟังด้วยเถิด”
เมื่อได้ฟังฤษีเศานกะกล่าวออกมาแทนเหล่านักบวชทั้งหลายเช่นนี้แล้ว เสาติจึงเริ่มเล่าบรรยาย ว่า
“โอ้...ท่านผู้ตโปธนะ อันนามของเหล่าภุชงค์นั้นมันมีอยู่มากมายหลายตนนัก ซึ่งข้าพเจ้าจะขอไม่กล่าวถึงชื่อของพวกเขาเหล่านั้นทั้งหมด โดยข้าพเจ้าจะขอกล่าวแต่เฉพาะเพียงนามของพญานาคที่สำคัญ ๆ เท่านั้น...พึงโปรดฟังเถิด”
แล้วเสาติก็เริ่มร่ายนามของพญานาคตนสำคัญ ๆ ว่า
อันพญานาคตนแรกที่ถือกำเนิดขึ้นมานั้นมีนามว่าเศษะ (शेष - Shesha) พญานาคตนที่สองที่ถือกำเนิดขึ้นมานั้นก็นามว่าวาสุกิ (वासुकि – Vasuki) จากนั้นก็ตามมาด้วยพญานาคที่มีชื่อว่า ไอราวตะ (ऐरावत - Airavata), ตักษกะ (तक्षक - Takshaka), กรรโกฏกะ (कर्कोटक), ธนัญชยะ (धनञ्जय – Dhananjaya),
กาลิยะ (कालिय – Kaliya), มณินาคะ (मणिनाग), อาปูรณ (आपूरण - Apurana), ปิญชรกะ (पिञ्जरक - Pinjaraka), เอลาปัตระ (एलापत्र - Elapatra), วามนะ (वामन - Vamana), นีละ (नील - Nila), อนีละ (अनील - Anila), กัลมาษะ (कल्माष – Kalmasha), ศพละ (शबल - Shabala),
อารยกะ (आर्यक - Aryaka), อาทิกะ (आदिक - Adika), อุครกะ (उग्रक - Ugraka), ศลโปตกะ (शलपोतक – Salapotaka), กลศโปตกะ (कलशपोतक - Kalashapotaka), สุมโนมุขะ (सुमनोमुख - Sumanomukha), สุมนาขยะ (सुमनाख्य - Sumanakhya), ทธิมุขะ (दधिमुख - Dadhimukha), วิมลปิณฑกะ (विमलपिण्डक - Vimalapindaka), อาปตะ (आप्त - Apta),
โกฏนกะ (कोटनक - Kotanaka), โกฏรกะ (कोटरक - Kotaraka), ศังขะ (शङ्ख - Shankha), วาลศิขะ (वालशिख - Valashikha), วาลิศิขะ (वालिशिख - Valishikha), นิษฐยูนกะ (निष्ठ्यूनक - Nishthyunaka), นิษฏานกะ (निष्टानक - Nishtanaka), เหมคุหะ (हेमगुह - Hemaguha), นหุษะ (नहुष - Nahusha), ปิงคละ (पिङ्गल - Pingala),
วาหยกรรณ (बाह्यकर्ण - Vahyakarna), หัสติปทะ (हस्तिपद - Hastapada), มุทครปิณฑกะ (मुद्गरपिण्डक - Mudgarapindaka), กัมพละ (कम्बल - Kambala), อัศวตระ (अश्वतर - Ashvatara), กาลียกะ (कालीयक - Kaliyaka), วฤตตะ (वृत्त - Vritta), สัมวรรตกะ (संवर्तक - Samvartaka), มหาปัทมะ (महापद्म - Mahapadma), ปัทมะ (पद्म - Padma),
แล้วก็ยังมีพญานาคอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงโด่งดังอีกหลายตน เช่น ศรุตะ (श्रुत - Shruta) หรือ ศรุตเสน (श्रुतसेन - Shrutasena), ศังขนกะ (शङ्खनक - Shankhanaka), สผัณฑกะ (स्फण्डक - Sphandaka), กุษมาณฑกะ (कूष्माण्डक - Kushmandaka), เกษมกะ (क्षेमक - Kshemaka), ปิณฑารกะ (पिण्डारक - Pindaraka), กรวีระ (करवीर - Karavira), ปุษปทัมษฏร์ (पुष्पदंष्ट्र - Pushpadamshtra), เอฬกะ (एळक - Eḷaka),
พิลวกะ (बिल्वक - Bilvaka), พิลวปาณฑุกะ (बिल्वपाण्डुक - Bilvapanduka), พิลวปาณฑุระ (बिल्वपाण्डुर - Bilvapandura), มูษกาทะ (मूषकाद - Mushakada), ศังขศิระ (शङ्खशिर - Shankhashira), ปูรณทัมษฏร์ (पूर्णदंष्ट्र - Purnadamshtra), ปูรณภัทระ (पूर्णभद्र - Purnabhadra), หริทระกะ (हरिद्रक - Haridraka), อปราชิต (अपराजित - Aparajita), ชโยติกะ (ज्योतिक - Jyotika),
ศรีวหะ (श्रीवह - Shrivaha), เการวยะ (कौरव्य - Kauravya), ธฤตราษฏร์ (धृतराष्ट्र - Dhritarashtra), ปุษกร (पुष्कर - Pushkara), ศังขปิณฑะ (शङ्खपिण्ड - Shankhapinda), ศัลยกะ (शल्यक - Shalyaka), วิรชะ (विरज - Viraja), สุพาหุ (सुबाहु - Subahu), ศาลิปิณฑะ (शालिपिण्ड – Shalipinda), หัสติภัทระ (हस्तिभद्र - Hastibhadra),
หัสติปิณฑะ (हस्तिपिण्ड - Hastipinda), ปิฐรกะ (पिठरक - Pitharaka), มุขระ (मुखर - Mukhara), สุมุขะ (सुमुख - Sumukha), โกณวาสนะ (कोणवासन – Konavasana), เกาณปาศนะ (कौणपाशन - Kaunapashana), กุญชระ (कुञ्जर - Kunjara), กุรระ (कुरर - Kurara), กุฐระ (कुठर - Kuthara), ประภากระ (प्रभाकर - Prabhakara),
กุมุทะ (कुमुद - Kumuda), กุมุทากษะ (कुमुदाक्ष - Kumudaksha), ติตติริ (तित्तिरि – Tittiri), หลิกะ (हलिक - Halika), กรรทมะ (कर्दम - Kardama), พหุมูลกะ (बहुमूलक - Bahumulaka), กรรกระ (कर्कर - Karkara), อกรรกระ (अकर्कर - Akarkara), กุณโฑทระ (कुण्डोदर - Kundodara) และ มโหทระ (महोदर - Mahodara)
จากนั้นเสาติก็กล่าวต่อไปว่า
“โอ้...ท่านผู้เป็นทวิชสัตตมะ (द्विजसत्तम - Dvijasattama) นามเหล่านี้แหละที่เป็นชื่อของพญาแห่งนาคซึ่งโด่งดังและเป็นที่รู้จักกัน ส่วนบรรดานาคอื่น ๆ ที่ไม่ค่อยโด่งดังหรือเป็นที่รู้จักกันน้อยนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่ขอเอ่ยถึงนามของพวกเขาเหล่านั้นให้เสียเวลา”
“ข้าแด่...ผู้อุดมยิ่งในหมู่พราหมณ์ ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ด้วยเพราะพญานาคเหล่านี้ที่เป็นต้นสกุล นั้นยังได้แพร่พันธุ์ออกลูกออกหลาน จนสืบต่อไปถึงเหลนถึงลื่ออีกมากมายหลายชนิดจนนับไม่ถ้วน นี่จึงเป็นเหตุผลที่ข้าพเจ้ากล่าวถึงข้อมูลอันเป็นนามของพญานาคหลัก ๆ เพียงเท่านั้น”
“โอ้...พราหมณ์ผู้รุ่มรวยในตบะ แล้ววงศ์กับตระกูลแห่งงูอันแตกต่างกันเหล่านี้ก็ยังแพร่สายพันธุ์ (Species) ออกมาอีกมากมายนับสหัสระ (सहस्र - Sahasra) แล้วแพร่พันธุ์ (ออกลูกออกหลาน) ต่อไปจนถึงจำนวนหลักประยุตะ (प्रयुत - Prayuta) และจำนวนหลักอรรพุทะ (अर्बुद - Arbuda) ตนกันเลยทีเดียว จนทำให้ข้าพเจ้านั้นไม่สามารถอาจแสดงแจกแจงซึ่งนามอันนับไม่ถ้วนของพวกเขาทั้งหลายได้หมดในที่นี้”
-----------------------------
เศษ หมายถึง พญานาคตนแรกที่ถือกำเนิดขึ้นมาเป็นพี่ชายคนโตที่สุดของเหล่าพญานาคทั้งหลาย ดังนั้นบางครั้งจึงมีการกล่าวถึงนามของเขาว่าเป็น “อาทิเศษะ (आदिशेष - Adishesha)” อันสื่อลงไปให้เห็นว่าเขานั้นเป็นพญานาคตนแรกที่กำเนิดขึ้นมาในโลก แล้วด้วยเขาเป็นพญานาคใหญ่และเป็นอมตะเขาจึงได้ฉายาอีกว่าเป็น “อนันตะ (अनन्त - Ananta)” ด้วย
ทฺวิชสตฺตม หมายถึง ผู้เป็นเลิศในหมู่พราหมณ์, หัวหน้าคณะแห่งพราหมณ์, พราหมณ์ผู้ดีเยี่ยม, พราหมณ์ผู้เป็นที่น่านับถือมาก
สหสฺร หมายถึง หนึ่งพัน (1,000)
ปฺรยุต หมายถึง หนึ่งล้าน (1,000,000)
อรฺพุท หมายถึง สิบล้าน (10,000,000)
เพชรภัทรนาคราชแบ่งจิต จุติอวตาร ไม่ได้นะคะ
มีเด็กน้อย หน้าตาน่ารักมาก มากอายุ7-8ขวบ พูดไม่ค่อยชัด ฟังยากมากๆ
ชื่อน้องไนซ์ เนรมิตเทวดานาคราชจุติ
เขาอ้างถึง
พญานาคนามว่า
#พญาเพชรภัทรนาคราช
#พญาเกล็ดแก้วนาคราช
((( ไม่เคยกล่าวถึง อนันตนาคราช )))
กับวงวารญาติๆ ลูกเมีย ตั้งใจมาสอนธรรมะอย่างเดียว ไม่เคยบอกว่า อนันตนาคราช
อยู่ระดับ อนาคามีด้วยไหม
แบ่งอวตารได้ไหม เพราะในหนังเทพฮินดู
พญาอนันตนาคราช ตั้งแต่
ปาง1ถึง ปางที่8 ของพระนารายณ์
ท่านมาเกิด แบบ เวียนว่ายตายเกิด
ไม่สามารถแบ่งดวงจิตได้นะคะ
ในหนังแขกเคยดูมาตั้งแต่เด็ก
ก่อนจะมาเกิดบนโลกท่านจะเรียก
ลูกๆมาสั่งลา และสั่งงาน
ในคลิป น่าตกใจที่ นาคเทวะชั้นสูง
จะขึ้นถึงระดับ อนาคามี
#องค์เพชรภัทรนาคา เป็นเทวดาชั้น
อนาคามี สามารถแบ่งจิต
แบ่งอวตารจุติได้คะ มันไม่น่าจะจริงนะ
ท่านเป็น นาคพื้นเมืองอินเดีย
ไปเกิดใน อินเดีย กับศรีลังกา ไม่ดีกว่าเหรอ
ที่ผ่านมาท่านก็เลือกเกิดใน อินเดีย
วรรณะกษัตริย์ มาตลอดนะ
และไม่เคย อวตารได้เลย
หนังประวัติศาสตร์ การทำสงคราม
ของ มหาราชสาลีวาหาร
ที่ในตำนานนาคาปุราณะ
ระบุว่า ท่านเวียนว่ายตายเกิดนะคะ
ไม่มีการใช้คำว่า อวตาร สักคำ
หนังดี กรูเตมิปุตต้า สตาคคานี่
https://youtu.be/FhlsfkfZO38
มหาราชสาลีวาหาร
ในประวัติศาสตร์โบราณ
ท่านเป็น มหาราชศักดิ์ไกรเนกี ผู้ยิ่งใหญ่
หรือ ชื่อจริง สาลีวาหารมหาราช แห่ง ศากยะวงศ์ เป็น ชาติที่ ทำสงครามศาสนา
ท่านนับถือพุทธศาสนา
และ ประวัติชัดเจน มีคลิปหนัง
ที่รบโคตรโหด ไม่ธรรมะนะ
แต่ สาลีวัตรน้องชาย จุติมาเกิด เป็น พระสงฆ์ในพุทธศาสนา (ไม่ใช่การอวตาร)
แต่เหมือน มนุษย์ อย่างเราๆ ที่ เวียนว่ายตายเกิดคะ
มีคนทำคลิปโปรโมทคนดู หลักแสนคะ
https://youtu.be/Uh4lhHC4Km8
คำว่า พระอนาคามี แปลว่าผู้ไม่กลับมาสู่กามภพหรือไม่กลับมาจุติอีกมีทั้งหมด 5 ประเภทข้อมูลดูได้ ตามลิงค์
https://www.jaisangma.com/non-returner/
วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566
เกี่ยวกับฉัน
- เพชรภัทรนาคราช
- ชื่อเล่น เอ๋ ชื่อในเนต อรมณีจันทร์ เพจแนะนำตัว fb.com/cindytarot เป็นยูทูปเบอร์ ช่องหมอดูยูทูป อรมณีจันทร์ Youtube.com/ohwow2244
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2023
(43)
-
▼
พฤษภาคม
(11)
- การบังคับใจคนอื่นมันไม่ดีหรอก
- เรื่องลิขสิทธ์ ตำนานรักอัญรินทร์
- พระนางกัทรุเคยมาเข้าฝันเราครั้งเดียวและไม่เชื่อคนแ...
- วงศาคณานาค มีชื่อพระนาม พี่น้องของ พญาอนันตนาคราช ...
- เพชรภัทรนาคราชแบ่งจิต จุติอวตาร ไม่ได้นะคะ
- พญาเพชรภัทรนาคราชมาเข้าฝันขอแต่งงาน
- ถ้าพญานาคไม่ได้ขอให้สร้างศาลให้ ก็อย่าทวงบุญคุณ
- อย่าพยายามยัดเยียดตนเอง ให้ เข้าไปในชีวิตของคนอื่...
- ทีมงานเนรมิตรนาคาจุติ อะสุจิณีอวตารได้
- พญานาคไม่สามารถแบ่งภาคอวตารจุติได้
- พญาเพชรภัทรนาคราชคือสารีวหารนาคาอธิบดี
-
▼
พฤษภาคม
(11)