วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ไฟไหม้ครั้งใหญ่ในอาณาจักรสาลีวาหารหรือสเตวาหาน




👳#ความเฉลียวฉลาดของมหาราชสาลีวาหาร

👳#เพชรภัทรนาคราช  💎#การกลับชาติมาเกิด

👑#สาลีวาหารนาคาธิบดี🌈ี #สงครามศาสนา

🌏#ราชวงศ์ศากยวงศ์ 🌌ในอินเดียกับเนปาล

💣#ภัยธรรมชาติ 💥 #ไฟป่า #หอคอยโบราณ

💂#ไฟไหม้ครั้งใหญ่ในอินเดียโบราณ🌸

🐍#พญานาคอินเดีย #ราชวงศ์โบราณ

🎪ในยุคของ 👑มหาราชสาลีวาหาร 💎🐍

🐍👳💎มหาราชสาลีวาหาร 🐲คือบุตรคนโตของ
อนันตนาคราชมาจุติเป็น กษัตริย์ในราชวงศ์ศากยะวงศ์ ซึ่งต้นตระกูลนี้ ดั้งเดิมจะอยู่ทางภาคกลางของอินเดีย ในรัฐมหาราช 

อันที่จริง ศากยวงศ์ เป็นตระกูลนักรบโดยตรงเน้นเรียนการต่อสู้เป็นหลัก  แต่ก็เน้นการเรียนหนังสือ ด้วย

และมีการสร้างเมืองใหม่ เพราะน้องชายอยากจะเป็น กษัตริย์ เมื่อ2900 ปีก่อนรุ่นหลาน อพยพไปสร้างเมืองหลวงแห่งใหม่ ในกาตมัณฑุ ที่เนปาล
ราชวงศ์ศากยวงศ์ในเนปาลได้

 ให้กำเนิดพระพุทธเจ้าสมณโคดมขึ้นมาในภายหลัง ผ่านไปหลายชั่วคนเลยทีเดียว

  โดยที่ ต้นตระกูลศากยวงศ์ ยังสืบเชื้อสาย อยู่ในแถบภาคกลางของ อินเดียจำนวนมากมาย มีลูกหลานมากมายบางคน ผิวสองสีบางคนผิวเหลืองแบบคนจีนแต่หน้าแขก
มีเหมือนคนยุโรปมี ผิวขาว รูปร่างสูงใหญ่ บางคนตาสีฟ้า สีม่วง สีน้ำตาลอ่อนมีผมดำ ผมน้ำตาลเข้ม ผมแดงก็มี

ในอินเดียมีคนใช้นามสกุลโบราณๆ เยอะ
 ที่บ่งบอกว่าสืบเชื้อสาย ญาติกามาจาก กษัตริย์โบราณเช่น นามสกุล จันทราคุปต์ ก็สืบเชื้อสายจากราชวงศ์จันทราคุปต์

นามสกุล ศากยวงศ์   ก็สืบเชื้อสายมาจาก
ราชวงศ์ศากยวงศ์

การเป็น กษัตริย์ในสมัยนั้น ต้องเก่งและฉลาดมากพอดู ถึงจะรักษาอำนาจได้นาน

ท่านสาลีวาหาร 
นอกจากต้อง จัดการกับปัญหาทางศาสนา
เพราะ ในสมัยของท่านมีการทำสงครามศาสนาหลายครั้ง ในตำราจะใช้คำว่า โฮลี่แวร์

"Holy war" ก็รบไปทั่วเลย รบกับอิสลาม ฮินดู คริสต์เตียน รบ รบ รบ จนขยายอาณาจักรได้กว้างไกลมาก มาก

 แล้วก็ต้องสู้กับภัยธรรมชาติ

ในรัฐอุจเจนี เคยมีไฟป่า เผาทำลายป่า
 เผาบ้านเมือง ไล่นา ของ ประชาชนจำนวนมาก คนเดือดร้อนจำนานมาก

มีคนไร้บ้าน ขาดแคลนอาหาร และที่พัก
ต้องอพยพมาที่เมืองหลวงเพื่อขอความช่วยเหลือ

ในฐานะมหาราชจะ หนีความรับผิดชอบ และไม่สนใจความเดือดร้อนของชาวบ้านไม่ได้

กษัตริย์สาลีวาหาร  ได้วาดแบบแปลน ประภาคาร กับหอคอยสังเกตุการณ์ แบบคร่าวๆ แล้วใช้วิศวกรให้ออกแบบจริงจังมาให้ดูหลายๆแบบ

และสั่งให้สร้าง ในหลายที่
เพื่อการสงคราม และปกป้องประชาชนจากไฟป่าที่เกิดขึ้นบ่อยๆ รวมไปถึงใช้ในการระดมพลเพื่อสู้รบกับ ศัตรู ใช้จัดตั้งกองทัพ เพื่อคุ้มครอง
กองคาราวานสินค้าจากต่างเมือง

ใช้ในการเดินทาง ทั้งทางน้ำ ทางบก
ตอนเกิดน้ำท่วมใหญ่ก็ใช้ เป็นจุดช่วยเหลือผู้คนที่เดือดร้อนจากภัยธรรมชาติ

ในปัจจุบันนี้  ปัญหาไฟป่าก็ ไม่สามารถคุมกำเนิดได้เหมือนกับเมื่อ 2000 ปีก่อน

เพราะถ้าอากาศร้อนมากๆ พวก กิ่งไม้แห้ง กับใบไม้แห้งๆก็จะ  สีกันไปๆมาๆจนเกิดไฟลุกไหม้ได้ง่ายๆอยู่แล้ว

ในสมัย มหาราชสาลีวาหาร ทำดีที่สุดแล้ว

1. จัดตั้งกองทัพ ช่วยชาวบ้านดับไฟป่าและแบ่งปัน เสบียงอาหาร

2. ใช้หอคอย หลาย10แห่ง สังเกตุไฟป่าและการเคลื่อนไหวของกองทัพศัตรู

3. มีขุดคลองหลายที่  ในแถบปลูกข้าวของชาวบ้าน มีการสร้างอ่างเก็บน้ำ
บ่อน้ำ และการชลประทานที่ดี

4. มีการขนย้ายทรายจำนวนมากมายจากทะเล กระจายไปตามสถานที่ต่างๆเพื่อ
มาใช้ในการก่อสร้างหอคอย
 และสามารถใช้ ทรายดับไฟ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

อาณาจักรของมหาราชสาลีวาหาร
 " Shalivahana Kingdom "

เป็นรัฐทหาร มีการเกณฑ์ประชาชนเข้ามาประจำการในกองทัพจำนวนมหาศาล

มีกฎหมายที่เด็ดขาด และ ลงโทษรุนแรงมาก
ประชาชนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปลอดภัย

คดีฆ่าข่มขืนมีน้อยมาก ถ้าจับคนทำผิดได้คือตายอย่างเดียว

เป็นผู้ที่มีทั้งพระเดช และ พระคุณ ในการปกครองประชาชน ในอาณาจักรของท่าน

ทหารต้องรับใช้ชาติ จะหนีทัพไม่ได้เด็ดขาด

ศาสนาฮินดูกับพุทธ อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในอาณาจักรของท่าน แต่นักบวชบางคน จะทำตัวเหมือนก่อกวน เพราะ สาลีวาหารนับถือ พุทธศาสนา  เมื่อได้ยินว่า มหาราชสาลีวาหารจะมาที่หมู่บ้าน ก็ไปขนตำราปุราณะของฮินดู ทั้งตำราพระเวทย์ มาเผา เพื่อประชดประชัน

มหาราชสาลีวาหาร ที่นับถือ พุทธศาสนา

ซึ่ง มหาราชสาลีวาหาร ต้องเข้ามาอธิบาย
และให้ความเป็นธรรม กับชาวบ้านที่ทะเลาะกับพวกนักบวชฮินดูด้วย

จนมีการออกกฎหมายป้องกันปัญหาความแตกแยกทางศาสนาขึ้น

มหาราชสาลีวาหาร ปกครองด้วย กฎหมายที่เข้มงวดมากแต่ก็ทรงมีเมตตากับ ชาวบ้าน ประชาชนทุกคน จึงได้รับการยกย่อง เทิดทูล บูชา มีการเขียนตำราชีวประวัติเยอะแยะ

มีการสร้างหนังใหญ่   ทำสารคดี
และจากหลักฐานต่างๆท่านมีตัวตนจริงๆไม่ใช่นิยาย และตัวจริงก็หน้าตาไม่เหมือนรูปปั้น

รูปปั้น มหาราชสาลีวาหาร ถูกปั้นภายหลัง
ท่ายเสียชีวิตนานเป็น 1000ปีทีเดียว

จากบันทึกจริงๆ ท่านตัวสูงมาก รูปร่างใหญ่ ผิวขาว ไว้หนวด เหมือนคนอินเดีย เชื้ออารยั








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น