วันอังคารที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2562

พระชายามาลิณี อัครเทวีของ เพชรภัทร พญาเกล็ดแก้ว

พระชายามาลิณีอัครเทวี อันดับที่3
ของพญาเพชรภัทร นาคราช

ตอนนี้เขาไม่สนใจ มนุษย์ผู้หญิง
ที่มา วุ่นวายกับสามีเขาแล้ว
เขาโกรธมาหลายรอบแล้ว
ทั้งที่สามีท่าน ไม่เคยไปหาสักคน
แอบอ้างกันทั้งน้านเลย 

จนตอนนี้ ปล่อยวาง ได้แล้ว
เพราะพวกนี้ ขี้เหล่สวยสู้ท่านไม่ได้สักคน
(แม้แต่กายทิพย์ นางฟ้าก็งดงามไม่เท่า ปลายนิ้วก้อยของท่าน)

ท่านพึ่งได้ลูกสาว คนล่าสุด พึ่งเกิดเมื่อปลายเดือน  กันยายน

ช่วงที่ผ่านมา ชาวบ้านเดือดร้อนแม่น้ำ มาลินี ในอินเดียแห้งจัดมากมาก

ต้นเหตุเพราะ  ท่านโมโหบ่อยๆทำให้

แม่น้ำมาลิณี แม่น้ำในการดูแลของเจ้าแม่นาคีมาลิณี มีความแห้งจนผิดปกรติ

พอดีได้ลูกมา เลยไม่สนใจมนุษย์ เพราะทั้งมนุษย์กับ สามี น่าเบื่อมากมาก ไม่จัดการอะไรเด็ดขาดท่านก็ยิ่งเดือดๆ

แต่บารมีบุญเก่ามี พอได้ลูกสาวมาก็ ใจเย็นลงไม่โกรธง่าย ตอนนี้ท่านมีความสุขมาก กับการเลี้ยงดูบุตรสาวคนใหม่

ปล. อันนี้คือเรื่องจริง แล้วแต่ใครจะเชื่อ
#ความรักของสาลีวาหารนาคาธิบดี 
#บุตรคนโตของอนันตนาคราช
#พญาเกล็ดแก้ว  #พญาเพชรภัทร

คลิปเล่าตำนาน สำหรับคนสนใจค่ะ
 https://youtu.be/iXxPrjBoeS8

ในตำราปุราณะโบราณ  ทั้งในคัมภีร์มหารามายาณะ กับ คัมภีร์มหาภารตะที่เก่าแก่ราวหกพันปี   รวมไปถึงในตำนานนาคาปุราณะ  นิยายพื้นบ้าน  ได้กล่าวไว้ชัดเจนว่า
ท่านสาลีวาหาร คือ บุตรชายคนโตของ  ท่านอนันตนาคราช ท่านอนัตนาคราช  มีพระนามจริงว่าเศษะ  คำว่าเศษะหมายถึง  เถ้าถ่านที่เหลืออยู่ของ จักรวาล ตอนที่ดิฉันแปล  ตำราประวัติศาสตร์นาคราช เก่าแก่ในอินเดียและศรีลังกา ดิฉันค้นพบว่า  ชื่อลูกๆ กับ ชายาของท่านอนันตนาคราชและ  น้องๆของท่านอนันตนาคราชมีความคล้องจองกันมาก มาก และไม่มีชื่อเป็น ภาษาไทยสักคำเดียว  เป็นภาษาอินเดียโบราณ เหมือนกันหมด
ท่าเศษะนาคราชมี  บุตรห้าท่าน
บุตรสาวคนโต  ชื่อ  พระนางสุโรจนา  เกิดจาก  พระนางอุษาอนันตวดี
บุตรชายคนโตน้องของพระนางสุโรจนา ชื่อ  สาลีวาหารเกิดจาก พระนางอุษา  บุตรคนที่สามชื่อ  สาลีวัตร เกิดจาก พระนางอมิณีอนันตวดี
บุตรคนที่สี่  ชื่อ พระนางวาณีอนันตวดี  เกิดจาก  พระนางอุษาอนันตวดี  บุตรคนที่ห้าชื่อ  พระนางกลอรีอนันตวดี  เกิดจาก พระนางอมิณีอนันตวดี  
ในแบบเรียนภาษาไทย  ในหนังรามเกียรติ  พระนางสุโรจนาจะมีชื่อปรากฏ ที่โดดเด่นมากกว่า สาลีวาหาร  ในหนังรามเกียรติ
สาลีวาหาร  กับ สาลีวัตร  จะเป็น  กองทัพนาค ขึ้นไปช่วยพระราม พระลักษณ์ รบทำศึกกับ ทศกัณฑ์

เจ้าชายสาลีวาหาร  มีความรักให้ชายาทั้งห้าคนอย่างเท่าเทียมกัน  ไปไหนมาไหนด้วยกันตลอด ท่านดูแลพระชายา ทั้งห้าอย่างดีทุกคน

ชายาทุกพระองค์ได้รับความรักอย่างเต็มที่และการดูแล เอาใจใส่อย่างดี  จาก เจ้าชายสาลีวาหาร  ตั้งแต่ยังทรงไม่ได้ขึ้นเป็น  นาคาธิบดี

เจ้าชายสาลีวาหาร  แต่งงานพร้อมกันกับ  ชายาทั้งสี่  คน  ส่วนคนที่ห้ารับมาเป็น  ชายาภายหลัง ในยุครามเกรียติ

ในตำนานนาคราช  ในส่วนของ  ท่านจันทร์คุปต์นาคราช ได้มีการกล่าวถึง  ท่านสาลีวาหาร กับ สาลีวัตรไว้
น้องชายท่านสาลีวัตร มีชายาคนเดียว  เป็นเจ้าหญิงนาคีชื่ออันนะปุรานา ท่านจันทร์คุปต์นาคราชได้มาร่วมงานแต่งของ  น้องชายก่อน และ  ก็มาร่วม
งานแต่งของท่านสาลีวาหารภายหลัง  โดยท่านสาลีวาหาร จะแต่งงานกับ สาว สาว  พร้อมกันทั้งสี่คน  ซึ่ง เจ้าหญิงทุกพระองค์ล้วนมีความงามหยดย้อย  น่าอิจฉายิ่งนัก  
มีรายชื่อดังนี้
ชายาคนแรกชื่อ พระนางกัลยาวตี   เป็นเจ้าหญิงนาคีเป็น บุตรสาวของ  ท่านทักชะกะ  น้องชายคนที่สามของ อนันตนาคราช
ชายาคนที่สองชื่อ  เมยาวตี  เป็นเจ้าหญิงนาคี  เป็นเจ้าหญิงนาคี บุตรสาวของท่าน  มหาปัทมา
ชายาคนที่สาม ชื่อ  มาลิณี เป็นเจ้าหญิงนาคี บุตรสาว ของท่านพิณจารกา 
ชายาคนที่สี่  ชื่อ  จายะ  น้องสาวชื่อ  วิจายะ  นางวิจายะรับมาเป็นชายาภายหลัง  เป็นบุตรสาวของท่าน  พญากังวาลนาคราช

ท่านอนันตนาคราชมีน้องชายหลายคน  มีอยู่ 19ท่านได้เป็น
นาคาธิบดี  มีบ้านเมืองปกครอง  โดยชื่อเมืองจะ ตั้งตามชื่อของ นาคาธิบดีที่ปกครอง
ท่านเศษะนาคราช  เป็น  พญานาคสีขาวเผือก  โดยในตำรามัสยาปุราณะบันทึกไว้ละเอียดมากมาก 
ท่านจะสวมอาภรณ์สีขาว  สวยงาม  มีอัญมณีเพทาย  เพชร ฟ้าประทับสวยงามมาก

ท่านวาสุกรี  ในตำราระบุชัดเจนว่า  เป็น  นาคสีขาวไข่มุก
บุตรสาว  พระนางศรรยาศรี  เป็น นาคสีชมพูไข่มุก

ในอินเดีย ศรีลังกา ไม่ได้จัดแบ่ง วรรณะนาคราชตามสี  นาคราชทุกสี  ล้วนมี  ศักดิ์ศรี และ ฐานะ เท่าเทียมกันหมด
ท่านกังวานนาคราช เป็น บุตรคนที่สี่  ของพระนางกัทรุกับท่านกัศยประพรหมเทพบิดร   เป็นนาคสีขาวอมชมพู เป็นนาคาธิบดีมีเมืองในการปกครองตนเอง
ท่านทักชะกะเป็น นาคที่มีชื่อเสียงมากใน  อินเดียท่านทักชะกะเป็นนาคสีแดง มีวัดของตนเอง มีตำนานเรื่องเล่ามากมาย  พอๆกับท่านสาลีวาหาร  ท่านสาลีวาหารก็มีวัดในอินเดียมีตำนาน ประวัติ เรื่องเล่าต่างๆมากมาย

ท่านสาลีว




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น